สถานที่ท่องเที่ยว
วัดหัวถนนใต้
วัดหัวถนนใต้สร้างขึ้นเมื่อไร ใครเป็นคนสร้างไม่มีหลักฐานอันใดจารึกไว้ ตอนแรกเป็นเพียงสำนักสงฆ์มีอาสนะสงฆ์ 3 – 4 หลัง เท่านั้น สำหรับการใช้ชื่อวัดนั้นเดิมในบริเวณนั้นมีถนนโบราณใหญ่ตัดไปทางลำธารทางใต้อันถนนนี้ใช้เป็นทางสำหรับไปตักน้ำที่ในลำธาร เมื่อในบริเวณนี้ได้สร้างเป็นสำนักสงฆ์และได้รับการบูรณะจนกระทั้งเป็นวัดแล้วก็เลยใช้ชื่อวัดว่า “วัดหัวถนนใต้” วัดนี้มีเนื้อที่ทั้งสิ้น 25 ไร่ ทิศเหนือจรดกับบริเวณที่นาของเอกชน ทิศตะวันออกจรดหมู่บ้าน ทิศตะวันตกจรดหมู่บ้าน ทิศใต้จรดหมู่บ้าน และทางหลวงสำหรับการเดินทางไปที่วัดนี้ เมื่อท่านเดินทางจากกรุงเทพฯ ไปถึงนครสวรรค์ แล้วในบริเวณบริษัทขนส่งจะมีรถเพื่อเข้าไปอำเภอท่าตะโก ซึ่งอยู่ห่างจากนครสวรรค์ประมาณ 42 กิโลเมตร ก่อนจะถึงอำเภอท่าตะโก ประมาณ 6 กิโลเมตร ทางด้านซ้ายมือจะเห็นองค์การบริหารส่วนตำบลหัวถนนตั้งอยู่ และมีทางเข้าไปยังวัด ประมาณ 200 เมตร ก็จะถึงวัดหัวถนนใต้
ที่อยู่ :
ต.หัวถนน อ.ท่าตะโก จ.นครสวรรค์
Page View :
1645
Tag :
วัดหัวถนนใต้, หัวถนนใต้, วัด,
พิจิตรเป็นถิ่นพระเครื่องชื่อดัง ผู้ศรัทธานิยมเช่าไปบูชา ดังเช่นพระพิจิตรเกศคด พระพิจิตรเม็ดข้าวเม่า พระพิจิตรใบมะขาม พระพิจิตรตีนโด่ พระพิจิตรกรุมะละกอ เป็นต้น
อ่านต่อ
เป็นของฝากจากพิจิตรที่รู้จักกันอย่างแพร่หลาย ด้วยรสชาติเปรี้ยว หวาน เค็ม เผ็ด กำลังดี หาซื้อได้จากร้านขายของที่ระลึกทั่วไปใน จ. พิจิตร
อ่านต่อ
เป็นผ้าทอจากฝ้ายผสมไหมหลากสีสัน เป็นที่นิยมของคนไทยและชาวต่างชาติ หาซื้อได้ที่บ้านป่าแดง หมู่ 1 และหมู่ 6 ต. หนองพยอม อ. ตะพานหิน
อ่านต่อ
มีชื่อเสียงมาก เพราะรสชาติซึ่งหวานอมเปรี้ยวกินอร่อย เนื้อส้มโอละเอียดแบบ เนื้อกุ้ง น้ำฉ่ำ และไม่มีเมล็ด ผลผลิตออกสู่ท้องตลาดช่วงเดือน ต.ค.-เม.ย.
อ่านต่อ
ผลไม้ขึ้นชื่อของจังหวัด เป็นกล้วยเนื้อแน่น เปลือกบาง รสชาติหวานหอม ออกมากช่วงเดือน ก.ย.-พ.ย. แหล่งจำหน่ายแหล่งใหญ่อยู่ที่ตลาดมอกล้วยไข่ ริม ถ.
อ่านต่อ
มีขายตลอดปีที่ตลาดมอกล้วยไข่ รสชาติอร่อย
อ่านต่อ
แหล่งผลิตอยู่บนสองฝั่งถนนช่วง อ. พรานกระต่าย
อ่านต่อ
กลุ่มกระดาษต้นกล้วย และผลิตภัณฑ์เส้นใยพืชบ้านเพชรนคร 144 หมู่ 21 ถนนเลี่ยงเมือง ตำบลเทพนคร อำเภอเมือง จังหวัดกำแพงเพชร 62000
อ่านต่อ
กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรเกาะน้ำโจนสามัคคี จัดตั้งกลุ่มขึ้นเมื่อ วันที่ 23 ธันวาคม 2543 ซึ่งมีจำนวนสมาชิก 30 คน
อ่านต่อ
เป็นหน่อไม้จากต้นไผ่รวกที่ขึ้นบนเขาสะแกกรัง มีรสหวานกรอบบรรจุใส่ขวดเพื่อเป็นของฝาก สามารถเก็บไว้ได้นานนับปี หน่อสั้นสำหรับใช้รับประทานกับน้ำพริก
อ่านต่อ
เกาะเทโพเป็นเกาะขนาดใหญ่ บนเกาะนิยมปลูกหัวผักกาดขาวกันเป็นจำนวนมาก เพื่อทำหัวผักกาดเค็มส่งเป็นสินค้าออกสู่ตลาดฮ่องกง
อ่านต่อ
เป็นภาชนะที่สานด้วยไม้ไผ่บนเกาะเทโพ ทำเป็นกระเป๋าถือ ตะกร้า กระบุง กระจาด ทุกรูปแบบได้รับความนิยมมากเพราะฝีมือประณีต นอกจากนี้ยังมีเครื่องจักสานทำจากผักตบชวา เช่น หมวก
อ่านต่อ
เป็นยาลมจีนสูตรโบราณที่ผสมครบตามตำรา มีชื่อทั่วประเทศ ผู้ใหญ่ใช้ประจำครอบครัวเพราะได้ผลดี ตัวยาแรงมาก ขายเป็นขีดและบรรจุขวด ผลิตกันหลายยี่ห้อ
อ่านต่อ
เป็นปลาเลี้ยงในแม่น้ำสะแกกรัง ตัวโตขนาด 2 กิโลกรัม ใช้ทอดกรอบให้เหลืองกับกระเทียมพริกไทย รสอร่อยจิ้มน้ำปลามะนาว
อ่านต่อ
เป็นเห็ดโคนเกิดในป่าเขตอำเภอบ้านไร่ เขตอำเภอทัพทัน มีเนื้อแน่นกรอบอร่อย แตกต่างจากเห็ดโคนที่อื่น และนิยมทำเป็นเห็ดโคนดองบรรจุขวด นำไปประกอบอาหารได้หลายชนิด
อ่านต่อ
ทำกันมากในเขตหมู่บ้านโคกหม้อ อำเภอทัพทัน และหมู่บ้านลาวต่างๆ เช่น หมู่บ้านผาทั่ง หมู่บ้านสะนำ หมู่บ้านห้วยแห้ง หมู่บ้านทองหลาง ซึ่งอยู่ในเขตอำเภอบ้านไร่ บ้านใหม่ ไทยอีสาน
อ่านต่อ
ผลิตจากกุ้ง และปลากรายแท้ๆ ได้รสอร่อยตามธรรมชาติ
อ่านต่อ
เป็นขนมหวานที่ผลิตจากหมู่บ้านหนองแกที่มีรสอร่อยหวานหอมตามตำรับเดิม ซึ่งมีชื่อเสียงดังคำกล่าวขานที่ว่า "น้ำยาน้ำทรง ขนมกงหนองแก"
อ่านต่อ
เป็นส้มที่ปลูกบนเกาะเทโพ รสหวาน
อ่านต่อ
เป็นขนมหวานที่ต่างจากท้องที่อื่น เพราะนำน้ำผึ้งมาเป็นส่วนผสม ทำให้รสหวานหอมและกรอบอร่อย
อ่านต่อ
ขนมมงคล ปุยฝ้ายสวรรค์ ขนมปุยฝ้ายเป็นขนมมงคล จึงเป็นที่นิยมของชาวไทยและจีนที่จะสรรหาเพื่อมอบเป็นของฝาก เมื่อไปเยี่ยมเยือนหรืองานฉลองในเทศกาลต่างๆเช่น วันเกิด เปิดร้าน
อ่านต่อ
เป็นงานหัตถกรรมของ อ. พยุหะคีรี มีตั้งแต่เครื่องประดับชิ้นเล็กๆ อย่างกำไล ตุ้มหู
อ่านต่อ
มีชื่อทั้งกุนเชียงหมู และกุนเชียงไก่
อ่านต่อ
เครื่องใช้ในครัวเรือน ของที่ระลึก เครื่องประดับตกแต่งมีอยู่บริเวณบ้านกลางแดด ตำบลกลางแดด อำเภอเมือง
อ่านต่อ
มีทั้งประเภทห่อใบตองและใส่หลอดพลาสติกเป็นแท่งๆ
อ่านต่อ
จากตัวเมืองนครสวรรค์-อุทัยธานี ระยะทางราว 10 กม.เศษ จะมีเพิงของชาวบ้านตั้งเรียงราย อยู่สองข้างทางขายรังผึ้ง (ผึ้งขนาดเล็กที่เรียกว่าตัวมิ้ม) และน้ำผึ้งซึ่งได้มาจากป่าแถบเขาทอง
อ่านต่อ
มีผลิตเป็นของที่ระลึก เช่น แจกัน ที่เขี่ยบุหรี่ ที่เสียบปากกา ขัน
อ่านต่อ
หมู่บ้านมอญ หมู่ 1 ตำบลบ้านแก่ง อำเภอเมืองนครสวรรค์ ได้สืบทอดการปั้นเครื่องปั้นดินเผามากว่า 100 ปี สินค้าเป็นภาชนะ โอ่ง กระถาง ของประดับตกแต่งบ้านและสวน และของที่ระลึก
อ่านต่อ
สินค้าจาก ต.ธารทหาร อ.หนองบัว เป็นข้าวที่ปลูกโดยใช้ปุ๋ยชีวภาพ จึงไม่มีสารตกค้าง ได้คุณค่าทางโภชนาการครบถ้วน หนองบัวเป็นพื้นที่ลาดเอียง ดินและน้ำมีความสมดุลกัน
อ่านต่อ
ทำจากเนื้อปลากรายล้วนๆ นำมาปรุงได้หลากหลายเมนู เช่น ยำลูกชิ้นปลากราย ลูกชิ้นปลากรายลวกจิ้ม ฯลฯ
อ่านต่อ
ขนมโมจิ ของฝากขึ้นชื่อของ จ. นครสวรรค์ มีหลายไส้ให้เลือกชิม เช่น ไส้ถั่ว งาดำ เผือก ชาเขียว ไข่เค็ม หรือรวมรส หาซื้อได้บริเวณตัวเมืองนครสวรรค์
อ่านต่อ
เป็นประเพณีของชาวไทยเชื้อสายจีนที่อาศัยอยู่ในจังหวัดนครสวรรค์ จัดขึ้นเป็นประจำทุกปีในช่วงเทศกาลตรุษจีน เพื่อความเป็นศิริมงคล การแห่เจ้านี้เริ่มทำครั้งแรกในปี พ.ศ. 2475
อ่านต่อ
บ้านหน้าผา อำเภอเมืองนครสวรรค์ จังหวัดนครสวรรค์ เมื่อใกล้วันที่จะมีพิธีลอยกระทงสาย ชาวบ้านหน้าผา จำนำกะลาที่เก็บสะสมไว้ตลอดทั้งปีมา ทำความสะอาด
อ่านต่อ
ประเพณีแข่งเรือ เป็นประเพณีที่สำคัญของจังหวัดนครสวรรค์ มีมาตั้งแต่อดีต เริ่มโดยชาวบ้านที่อาศัยอยู่ริมแม่น้ำ จะเป็นฝีพาย จัดแข่งขันในช่วงน้ำหลาก หลังออกพรรษาเดือน 11 คือ
อ่านต่อ
ประเพณีสงกรานต์ ของชาวจังหวัดนครสวรรค์ จัดขึ้นเป็นประจำทุกปีในแต่ละท้องถิ่น โดยจะมีการตักบาตรข้าวสาร และอาหารแห้งในวัด และสถานที่ราชการ มีการสงฆ์น้ำพระ รดน้ำดำหัวผู้ใหญ่
อ่านต่อ
จัดขึ้นในวันแรม 1 ค่ำ เดือน 11 หลังวันออกพรรษา ณ บริเวณลานวัดสังกัสรัตนคีรี พระสงฆ์จะรับนิมนต์มารับบิณฑบาตจากพุทธศาสนิกชน
อ่านต่อ
เป็นประเพณีรื่นเริงในเทศกาลสงกรานต์ของจังหวัดอุทัยธานีตรุษ ตรงกับ วันขึ้น 5 ค่ำ เดือน 5 ตามปฏิบัติทางจันทรคติถือว่าเป็นวันสิ้นปีส่วนสงกรานต์ตรงกับวันที่ 13 เมษายน
อ่านต่อ
เป็นงานประเพณีแห่เจ้าพ่อเจ้าแม่ที่อยู่ตามศาลต่าง ๆ โดยกําหนดงานตามการครบรอบปี ของเจ้าแต่ละองค์ซึ่งบางองค์แห่ 5 ปี/ครั้ง บางองค์แห่ 12 ปี/ครั้ง รวมทั้งการแห่เจ้าพ่อบุญเถ่ากง
อ่านต่อ
งานประเพณีบุญบั้งไฟ คือ มรดกทางวัฒนธรรมอย่างหนึ่งของชาวอีสานที่อพยพมาอยู่ ที่ อําเภอลานสัก และอําเภอทัพทัน จัดขึ้นเป็นประจําทุกปีที่หมู่บ้านร่องตาทีมีตํานานที่เล่ากันว่า
อ่านต่อ
ประเพณีทําขนมจีนโบราณ ณ วัดทุ่งนางาม ตําบลทุ่งนางาม อําเภอลานสัก ซึ่งชาวบ้าน ร่วมใจกันอนุรักษ์ประเพณีอันดีงาม
อ่านต่อ
ในช่วงเดือน เมษายนของทุกปี เพื่อเทิดพระเกียรติและรำลึกถึงพระปฐมบรมมหาชนก พระชนกาธิบดีรัชกาลที่ 1 แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์ และเพื่อย้อนรำลึกถึงวันที่ 5 เมษายน 2522
อ่านต่อ
งานไหว้พระพุทธมงคลศักดิ์สิทธิ์ ที่วัดสังกัสรัตนคีรี ตำบลอุทัยใหม่อำเภอเมืองอุทัยธานีโดยจะจัดขึ้นใน วันขึ้น 3-8 ค่ำ เดือน 4
อ่านต่อ
งานประจำปีวัดหนองขุนชาติ อำเภอหนองฉาง โดยจัดให้มีงานในวันขึ้น 14 ค่ำ - วันแรม 1 ค่ำ เดือน 3 ทุกปี ซึ่งเดิมเป็นงานนมัสการ พระพุทธบาทจำลอง ต่อมาการจัดงานได้รับความนิยมมาก
อ่านต่อ
จัดขึ้นในระหว่างวันมาฆบูชาหรือวันเพ็ญเดือนสาม ประมาณเดือนกุมภาพันธ์ เป็นการฟื้นฟูงานประเพณีดั้งเดิมตามหลักฐานในศิลาจารึกเมืองพระชุม
อ่านต่อ
จัดในช่วงวันสารทไทย ตรงกับวันขึ้น ๑๕ ค่ำ และแรม ๑ ค่ำ ของเดือนกันยายนทุกปี เพื่อเผยแพร่กล้วยไข่ซึ่งเป็นผลไม้พื้นเมืองของจังหวัด ในงานจะมีการประกวดและจำหน่ายกล้วยไข่
อ่านต่อ
จังหวัดพิจิตรมีการแข่งเรือประเพณีมาเป็นเวลานานแล้วเพราะมีธรรมเนียมว่า วัดใดถ้าจัดงานปิดทองไหว้พระแล้วก็จะต้องจัดงานแข่งเรือควบคู่กันไปด้วย มักจัดกันในฤดูน้ำหลาก
อ่านต่อ
เป็นประเพณีสำคัญของชาวบ้านป่าแดง ตำบลหนองพยอม ซึ่งเป็นชาวไทยพวน ซึ่งถือปฏิบัติต่อกันมาเป็นเวลาช้านาน จัดตรงกับวันขึ้น 2 ค่ำและ 3 ค่ำ เดือน 3 (ประมาณเดือนกุมภาพันธ์)
อ่านต่อ
comments powered by Disqus
อยู่ระหว่างการพัฒนา
QRCode